6 โรคสำคัญในเด็กเล็ก

  • 6 โรคสำคัญในเด็กเล็ก

  • 6 โรคสำคัญในเด็กเล็กนี้สามารถป้องกันได้ ดังนี้


    • โดยการฉีดวัคซีนมีผลการวิจัยถึงภูมิคุ้มกันว่าสามารถป้องกันได้ และมีความปลอดภัย

    1) โรคคอตีบ


    • โรคร้ายที่ผู้ใหญ่ก็เป็นได้อันตรายถึงชีวิต

    อาการโรคคอตีบ


    • ผู้ป่วยที่มีอาการไข้ต่ำ และมีอาการคล้ายหวัดในระยะแรก

    • ผู้ป่วยที่มีอาการเบื่ออาหาร

    • ผู้ป่วยที่มีอาการไอเสียงดังก้อง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอ

    • ผู้ป่วยที่มีอาการต่อมน้ำเหลืองที่คอโต

    • ผู้ป่วยที่มีอาการบริเวณทอนซิล , ช่องคอ , โพรงจมูก , กล่องเสียง

    • กรณีผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงที่จะเกิดการตีบตันของทางหายใจ ซึ่งทำให้หายใจล้มเหลว และเสียชีวิต

    การป้องกันโรคคอตีบ


    • กรณีเกิดขึ้นในเด็กเล็กต้องให้วัคซีนโรคคอตีบ จำนวน 5 ครั้ง (ตั้งแต่อายุ 2-18 เดือน ควรกระตุ้นอีกครั้งเมื่ออายุ 4 ขวบ)

    • กรณีผู้ที่มีอายุ 20-50 ปี (ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และบาดทะยัก)

    • กรณีนี้สามารถรักษาให้หายได้ด้วยการมาพบแพทย์ (ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง เพราะอาจไม่ตรงกับเชื้อโรค และอาจทำให้อาการของโรครุนแรงขึ้น)

    2) โรคบาดทะยัก


    • เกิดจากเชื้อโรคที่อยู่ในดิน หรือสถานที่ และสิ่งของสกปรกเข้าสู่ร่างกายบาดแผล

    การรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายจากโรคบาดทะยัก


    • ผู้ป่วยที่เป็นแผลสดที่ไม่สะอาด

    • ผู้ป่วยที่เป็นแผลจากตะปูตำ , เข็มตำ , กิ่งไม้ตำ หรือของบาดคม

    • ผู้ป่วยที่เป็นแผลเรื้อรังที่มีเนื้อตาย หรือแผลลึกที่ออกซิเจนเข้าไม่ถึง ได้แก่ ผู้ป่วยที่เป็นแผลเบาหวาน , ผู้ป่วยที่เป็นแผลหูชั้นกลางอักเสบ

    • ผู้ป่วยที่เป็นแผลไฟไหม้

    • ผู้ป่วยที่เป็นแผลถูกสัตว์กัด เช่น สุนัก , แมว , ค้างควา , หนู เป็นต้น

    • ผู้ป่วยที่เป็นแผลเข้าผ่านทางสายสะดือ

    การป้องกันโรคบาดทะยัก


    • ควรฉีดวัคซีนตามกำหนดทุก 10 ปี

    • ควรคำความสะอาดแผลให้สะอาด

    • ควรปิดผ้าก๊อซที่แผลวันละครั้ง หรือเมื่อปนเปื้อนมาก

    • ควรใช้ยาปฏิชีวะนะอย่างเหมาะสม

    อาการโรคบาดทะยัก


    • ผู้ป่วยที่มีอาการกล้ามเนื้อเกร็งทั่วร่างกาย

    • ผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ

    • ผู้ป่วยที่มีอาการกล้ามเนื้อกระตุก

    • ผู้ป่วยที่มีอาการกลืนน้ำลายลำบาก

    • ผู้ป่วยที่มีอาการปวดกราม

    • ผู้ป่วยที่มีอาการปวดศีรษะ

    • ผู้ป่วยที่มีอาการไข้

    • ผู้ป่วยที่มีอาการความดันโลหิตสูง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการหัวใจเต้นเร็ว

    3) โรคโปลิโอ


    • เกิดจากการติดเชื้อ (Poliovirus) เด็กไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอตามกำหนด เป็นแล้วยังไม่มียารักษาให้หายขาดได้

    อาการโรคโปลิโอ


    • ผู้ป่วยมีอาการอักเสบไขสันหลังอัมพาต และอาจเสียชีวิต

    อาการติดต่อโรคโปลิโอ


    • ผู้ป่วยมีอาการติดต่อจากคนสู่คน ซึ่งผ่านการรักประทานอาหาร หรือน้ำที่ทีการปนเปื้อนติดเชื้อ

    การป้องกันโรคโปลิโอ


    • ผู้ปกครองควรพาบุตรหลานเข้ารับวัคซีนตามกำหนด

    • ทางโรงพยาบาลแนะนำให้เด็กทุกคนตัองเข้ารับวัคซีนในช่วงอายุ 2-18 เดือน และช่วง 4 ปี

    4) โรคตับอักเสบบี


    • การเกิดจากเชื้อไวรัสที่สามารถติดต่อทางเลือด , น้ำลาย , สารคัดหลั่ง หรือจากมารดาที่เป็นพาหะสู่ทารกไวรัสตับอักเสบบี

    การติดต่อโรคตับอักเสบบี


    • กรณีที่ผู้ป่วยที่สัมผัสเลือด หรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วย

    • กรณีใช้เข็มฉีดยา หรือเข็มเจาะสักร่วมกัน

    • กรณีเชื้อติดต่อจากแม่สู่ลูก และการมีเพศสัมพันธ์

    อาการโรคตับอักเสบบี


    • ผู้ป่วยที่มีอาการอ่อนเพลีย

    • ผู้ป่วยที่มีอาการเบื่ออาหาร

    • ผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้

    • ผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียน

    • ผู้ป่วยที่มีอาการแน่นชายโครงขวา

    • ผู้ป่วยที่มีอาการปัสสาวะสีเข้ม

    • ผู้ป่วยที่มีอาการตาเหลือง

    การป้องกันโรคตับอักเสบบี


    • ควรตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบ บี

    • ควรฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี

    • ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์

    • เชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ที่เป็นสาเหตุของตับอักเสบ (ซึ่งทำให้เกิดโรคตับแข็ง และมะเร็งตับได้ในอนาคต)

    5) โรคไอกรน


    • การติดต่อโดยการไอ ,​ จาม โดยตรง ซึ่งพบในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 6 ปี หรือทารกตั้งแต่เดือนแรก

    อาการโรคไอกรน


    • ผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายเป็นหวัด , ไอแห้ง ยาวนาน กว่า 10 วัน

    • ผู้ป่วยที่มีอาการไอถี่ๆ ติดต่อกัน 5-10 ครั้ง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการหายใจเข้าอย่างแรงจนเกิดเสียงวู้บ

    • ผู้ป่วยที่มีอาการตาแดง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการมีน้ำมูกเด็กเล็กอาจหายใจไม่ทันจนทำให้หน้าเขียวได้

    การรักษาโรคไอกรน


    • ควรพักผ่อนให้เพียงพอ และดื่มน้ำอุ่น

    • ควรสวมหน้ากากอนามัย เมื่อเวลาไอ หรือจาม

    • ควรหลีกเลี่ยงการไปในที่ชุมชน

    • ควรหลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้ไอมากขึ้น เช่น การออกแรง , ฝุ่นละออง

    • หาเกิดการไอ หรือมีอาการติดต่อกันเกืน 10 วัน หรือไม่ติดกันเป็นชุด ควรรีบไปพบแพทย์

    การป้องกันโรคไอกรน


    • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไอกรน ในเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี จำนวน 4-5 ครั้ง

    • ครั้งที่ 1 (เริ่มเมื่ออายุ 2 เดือน)

    • ครั้งที่ 2 (เริ่มเมื่ออายุ 6 เดือน)

    • ครั้งที่ 3 (เริ่มเมื่ออายุ 6 เดือน)

    • ครั้งที่ 4 (เริ่มเมื่ออายุ 18 เดือน)

    • ครั้งที่ 5 (ฉีดวัคซีนกระตุ้นเมื่ออายุ 4 ปี)

    6) โรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบจากโรคฮิบ


    • เกิดจากเชื้อแบททีเรียติดต่อกันทางการสัมผัสใกล้ชิน เช่น การไอ , การจาม เป็นต้น

    การฉีดวัคซีนพื้นฐานที่เด็กต้องฉีด


    • วัคซีนป้องกันคอตีบ

    • วัคซีนป้องกันไอกรน

    • วัคซีนป้องกันเชื้อบาดทะยัก

    • วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี

    รู้จักกับเชื้อฮิบ (HIB)


    • HIB (Haemo- philus influenzaetype B) เป็นเชื้อแบคที่เรีย

    • ติดต่อง่าย โดยการสัมผัส

    • ทำให้เกิดโรคหลายชนิด เช่น มีอาการปวด , มีอาการบวม , มีอาการกล่องเสียงอักเสบ , ผิวหนังอังเสบ , ข้ออักเสบ และโรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบ

    • เกิดกับเด็กวัยแรกเกิดถึงอายุ 5 ขวบ

    อาการของโรคฮิบ


    • ผู้ป่วยที่มีอาการจะออกภายใน 3-4 ชั่วโมง จนถึง 2 วัน

    • ผู้ป่วยที่มีอาการเป็นโรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบชนิดรุนแรง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการเป็นไข้หงุดหงิด , งอแง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการติดเชื้อมาถึงประสาทส่วนกลางจะมีอาการปวดศีรษะ , มีอาการชัก , มีอาการคอแข็ง , มีอาการกระหม่องโป่ง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการผู้ป่วยที่มีอาการ

    กรณีที่เด็กรอดชีวิต (ในบางรายเด็กรอดชีวิตอาจจะมีอาการ)


    • ผู้ป่วยที่มีอาการชักเรื้อรัง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการหูหนวก

    • ผู้ป่วยที่มีอาการอัมพาด

    • ผู้ป่วยที่มีอาการปัญญาอ่อน

    การป้องกันโรคฮิบ


    • ควรฉีดวัคซีนป้องกันได้ 100

    • ควรฉีดตั้งแต่ 2 เดือนขึ้นไป

    • ควรฉีดทั้งหมด 3 เข็ม

    • ควรฉีดตั้งแต่อายุ 2-6 เดือน เป็นต้น

    อาการข้างเคียงของโรคฮิบ


    • ผู้ป่วยที่มีอาการบวด , บวม , แด

    • ผู้ป่วยที่มีอาการไข้สูง

    • ผู้ป่วยที่มีอาการผื่นคัน

    • ผู้ป่วยที่มีอาการหงุดหงิดง่าย

    เรียบเรียง โดย ดร.นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา


    အသေးစိတ်အချက်အလက်များကို တွင် မေးမြန်းနိုင်ပါသည်။

    • ศูนย์กุมารเวชกรรม (อาคาร 2) ชั้น 2 โทร.02-530-2556 ต่อ 2200,2201