โรคลมแดด
- ผู้ป่วยจะมีอาการรุนแรงสูงสุดในกลุ่มโรคที่เกิดจากความร้อนของร่างกาย ซึ่งจะมีอุณหภูมิมากกว่า 40 องศาเซลเซียส จะมีอาการ เช่น ซึม , ชัก หรือเซลล์ของอวัยวะทำงานที่ผิดปกติ
วิธีการดูแลตัว ดังนี้
- ควรดื่มน้ำให้เพียงพอ
- ควรงดเครื่งอดื่มแอลกอฮอล์
- ควรสมชุดที่ระบายความร้อนได้ดี
การปฐมพยาบาล ดังนี้
- เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังที่อากาศถ่ายเทสะดวก
- เช็ดตัวด้วยน้ำอุณหภูมิปกติ และพัดให้เพื่อระบายความร้อน
- หากอาการไม่ดีขึ้น ควรรีบนำส่งโรงพยาบาล
6 โรคหน้าร้อนที่ป้องกันได้
- ฤดูร้อน (อาการร้อน , แห้งแล้ง จะเหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อโรคแบคทีเรีย โดยเฉพาะพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ำดื่มที่ไม่สะอาด ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่ทำให้เกิดการระบาดของโรคติดต่อทางอาหาร และน้ำ เราจึงควรระมัดระวังความสะอาดของอาหาร และน้ำดื่มเป็นพิเศษ โดยการทานอาหารร้อนที่ปรุงสุกใหญ่ๆ และใช้ช้อนกลางล้างมือทุกครั้งก่อนทานอาหาร หลังใช้ห้องน้ำ และดื่มน้ำสะอาด)
- ป้องกันโรค 6 โรคในหน้าร้อน (ควรระวังเรื่องโรคอุจจาระร่วง , ควรระวังโรคอาหารเป็นพิษ , ควรระวังโรคบิด , ควรระวังโรคไข้ไทรอยด์ , ควรระวังโรคอหิวาตกโรค และควรระวังโรคพิษสุนัขบ้า เราควรระมัดระวังเรื่องความสะอาดของอาหาร , น้ำแข็ง , น้ำดื่ม , น้ำประปา , ตลาดสด และห้องน้ำที่ถูกสุขลักษณะ)
- สาเหตุ (ส่วนใหญ่ของอาการป่วยมักมาจากน้ำดื่ม , อาหารที่ไม่สะอาด และอาหารเสียง่าย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางอาหาร และโรคพิษสุนัขบ้า)
ฤดูร้อนนี้ มีโรคที่ต้องระมัดระง ดังนี้
1) โรคอุจจาระร่วง
- สาเหตุ (จากการติดเชื้อไวรัส เช่น เชื้อไวรัสโรต้า , ไวรัสโนโร่ และจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น เชื้อบิด , เชื้ออหิววตกโรค หรืออาจเกิดจากสารพิษจากเชื้อแบคทีเรียซึ่งเป็นสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษ)
- การรักษา (ควรปรับเปลี่ยนเรื่องการรับประทานอาหาร และการดื่มนม เน้นกินอาหารจำพวกแป้ง ลดอาหารจำพวกโปรตีน และหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นเส้นใย (ผักและผลไม้) ดื่มนมได้ตามปกติแต่ลดปริมาณลง และดื่มบ่อยขึ้น)
- การป้องกัน (ล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะก่อนรับประทานอาหาร และหลังใช้ห้องน้ำ , รับประทานอาหารที่สะอาด และปรุงสุก ดื่มน้ำสะอาด , รับวัคซีนโรต้าช่วยป้องกัน และลดความรุนแรงของโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้าเป็นวัคซีนพื้นฐานที่ใช้หยอกปากสำหรับเด็กขวบปีแรก)
2) โรคอาหารเป็นพิษ
- อาการ (มีอาการคลื่นไส้ , อาเจียน , ปวดท้อง , ถ่ายอุจจาระบ่อย , ปวดศีรษะ , ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว)
- การป้องกัน (อาหารที่ปรุงสุกด้วยความร้อนหลีกเลี่ยงอาหารใกล้เสีย หรืออาหารที่ค้างคืนนานเกินไป , ล้างมือให้สะอาดก่อนทานอาหารทุกครั้งหลีกเลี่ยงอาหารที่เสียง่าย หรือไม่สุก)
- การรักษา (ดื่มผงน้ำตาลเกลือแร่ เพื่อป้องกันการขาดน้ำ และเกลือแร่ ทานอาหารเหลวย่อยง่าย หากมีไข้ควรนำส่ง โรงพยาบาล ทันที)
3) โรคบิด
- สาเหตุ (เกิดจากเชื้ออะมีบา (Entamoeba histolytica) ต้นเหตุทำให้เกิดโรคบิด)
- อาการ (อาการท้องเสียถ่ายเป็นมูกเลือด (บางรายอุจจาระไม่มีมูกเลือด) , อุจจาระมีกลิ่นเหม็นเหมือนหัวกุ้งเน่า , มีอาการปวดท้องอาจมีถ่ายเหลวเล็กน้อยสลับกับการถ่ายอุจจาระปกติ , ถ้าเกิดฝีบิดในตับผู้ป่วยจะมีไข้บางรายสูงถึง 40 องศาเซลเซียส , น้ำหนักลดอ่อนเพลีย
- การป้องกัน (รับประทานอาหารสุกสะอาดไม่มีแมลงวันตอม , ผู้ประกอบอาหารทุกคนควรจะได้รับการตรวจอุจจาระหาซีสต์ หรือโทรโฟซอยท์ของอะมีบาเป็นระยะๆ)
4) โรคไข้ไทรอยด์
- สาเหตุ (ต่อมไทรอยด์อักเสบเรื้อรังจากความบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน เป็นสาเหตุของภาวะฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำที่พบได้บ่อย เกิดจากการที่ภูมคุ้มกันในร่างกายไปทำให้ต่อมไทรอยด์เกิดการอักเสบเรื้อรัง และทำงานลดลงอย่าต่อเนื่อง)
- อาการ (น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น , หน้าบวม , รู้สึกหนาวง่าย , ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ , ประวัติโรคไทรอยด์ในครอบครัว , ผิวแห้ง , ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ , คอโต)
5) โรคอหิวาตกโรค
- สาเหตุ (เกิดจากการที่รับประทานอาหารที่มีแมลงวันตอม , อาหารสุกๆดิบๆ , อาหารกระป๋องที่เสียวแล้ว และมีการปนเปื้อนของเชื้อ)
- ระยะฟักตัว (ผู้ที่ได้รับเชื้อจะเกิดอาการได้ตั้งแต่ 24 ชั่วโมงถึง 5 วัน แต่โดยเฉลี่ยแล้วจะเกิดอาการภายใน 1-2 วัน)
- การป้องกัน (รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และดื่มน้ำสะอาด , ล้างมือฟอกสบู่ให้สะอาดทุกครั้งก่อนทานอาหาร)
6) โรคที่เกิดจากสัตว์เลี้ยง
- สาเหตุ (เชื้อราจากแมว และสุนัขที่พบบ่อย เป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ผิวหนังของสัตว์ หรืออาจำทำให้เกิดโรพิษสสุนัขบ้าได้)
- อาการ (มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนัง ลักษณะเป็นวง มีขุยรอบๆ ค่อยๆ ขยายเป็นวงกว้าง และรู้สึกมีอาการคันตลอดเวลา)
- กลุ่มเสี่ยง (ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันไม่แข็งแรง , เด็ก , ผู้สูงอายุ)
- การป้องกัน (ทำความสะอาดมือ และอวัยวะต่างๆ ทุกครั้ง หลังสัมผัสกับสัตว์เลี้ยง , ทำความสะอาดสัตว์เลี้ยงอย่างสม่ำเสมอ)
สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
- ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ (อาคาร 3) ชั้น 3 โทร.02-530-2556 ต่อ 3300,3301