คำอธิบาย
โรคแผลเบาหวานที่เท้า
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูง จะเกิดปลายประสาทที่เท้าเสื่อม และหลอดเลือดส่วนปลายตีน ทำให้รู้สึกชาที่เท้า ไม่รู้ตัวว่ามีแผล จึงอาจเกิดแผลติดเชื้อ หรือหายช้า หากรุนแรงอาจต้องตัดเท้า
สาเหตุ
- ปลายประสาทเท้าเสื่อม : มีความรู้สึกชา ไม่ปวด กล้ามเนื้อฝ่อ ทำให้เดินลงน้ำหนักที่แผล เกิดการบาดเจ็บมากขึ้น
- หลอดเลือดส่วนปลายตีบ : แผลขาดสารอาหารจากเลือดการรักษาแผลจึงเกิดช้าลง
ผู้เสี่ยงเกิดผล
- น้ำตาลในเลือด > 126 เป็นเบาหวาน
- เคยตัดนิ้วเท้า
- โรคไตจากเบาหวาน
- เบาหวานขึ้นจอประสาทตา
- เท้าผิดรูป
การดูแลผู้ที่มีแผลเบาหวานที่เท้า
- พบแพทย์
- ปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด
- ทำความสะอาดแผลที่โรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ
- สวมรองเท้าที่เหมาะสม
- ลดการยืน เดิน
การป้องกัน
- ทำความสะอาด และสำรวจเท้าอย่างสม่ำเสมอ
- ตัดเล็บเป็นประจำแต่ไม่สั้นจนเกินไป
- ตรวจเท้าที่โรงพยาบาล ปีละ 1 ครั้ง
- งดบุหรี่
- ควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
- สวมถุงเท้า รองเท้าขนาดเหมาะสม
- ลดน้ำหนัก
แพ็กเกจ : การใช้ยารักษาผู้ป่วยแผลเบาหวาน
รายการตรวจ | ราคา |
1) ขนาดแผล < 5 เซนติเมตร (สำหรับคนไทย) | 2,900.- |
2) ขนาดแผล 5 – 10 เซนติเมตร (สำหรับคนไทย) | 3,900.- |
3) ขนาดแผล 10 – 30 เซนติเมตร (สำหรับคนไทย) | 5,900.- |
4) ขนาดแผล < 0.5 เซนติเมตร (สำหรับคนไทย) | 7,900.- |
เงื่อนไขการเข้ารับบริการ
- ราคาเหมาจ่ายดังกล่าวรวมค่าบริการแพทย์ , พยาบาล และโรงพยาบาลแล้ว
- ราคาแพ็กเกจอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า
เปิดให้บริการทุกวันจันทร์ และ วันศุกร์ ในเวลา 13.00 – 14.00 น.
หมดเขต 31 ธันวาคม 2566
สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์คลินิกแผลเบาหวานและแผลเรื้อรัง (อาคาร 3) ชั้น 2 โทร.02-530-2556 ต่อ 3200